แสดงกระทู้

ส่วนนี้จะช่วยให้คุณสามารถดูกระทู้ทั้งหมดสมาชิกนี้ โปรดทราบว่าคุณสามารถเห็นเฉพาะกระทู้ในพื้นที่ที่คุณเข้าถึงในขณะนี้


ข้อความ - ยาใจ

หน้า: [1] 2 3 ... 903
1
1043.ธรรมสถานว่องวานิช (ตอน1) 13-5-66.





1045.เรื่องของพระรัตนตรัย 12-5-66





1047.ให้โอวาทแก่ผู้ปฏิบัติธรรม 11-5-66.





1048.อิริยาบถย่อยและเดินจงกรม 11-5-66.





1049.ปัจจัยนำไปสู่ความสำเร็จ11-5-66.





1044.ธรรมสถานว่องวานิช(ตอนจบ) 13-5-66.






คลิกชม VDO ทั้งหมดได้ที่ ===> https://www.youtube.com/c/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%8D%E0%B8%BA%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A3/videos


ขอบคุณข้อมูลจาก Youtube พระมหาบุญช่วย ปญฺญาวชิโร
https://www.youtube.com/c/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%8D%E0%B8%BA%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A3/videos




2
12 HD (28/05/66) อภิธรรม ปริจเฉทที่ 9  โดย  พระวรฤทธิ์ โอภาโส





โครงการศึกษาพระอภิธรรม ประจำปี 2566

ปริเฉทที่ 9 วิปัสสนากรรมฐาน

วันอาทิตย์ที่    28  พฤษภาคม  2566 

โดย...พระวรฤทธิ์ โอภาโส

ณ ห้องสารนาถ ชั้น 3  อาคารบุญยง ว่องวานิช

ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

เลขที่ 4 เพชรเกษม 54 แยก 6 บางด้วน  เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160


******************************************************************

สามารถเข้าเรียนอภิธรรมวันอาทิตย์ (เช้า) ผ่านโปรแกรม ZOOM

โดย พระวรฤทธิ์ โอภาโส ตลอดทั้งปี

ได้ที่...
Join Zoom Meeting
https://zoom.us/j/3577655520?pwd=NFlTUk1xQzZDTGdHUjlsOUtMU1QyQT09#success


Meeting ID: 357 765 5520

Passcode: 1234









  ขอขอบคุณข้อมูลจาก : Youtube  ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

https://www.youtube.com/user/ybat1/videos

3
11 (14/05/66) อภิธรรม ปริจเฉทที่ 9  โดย  พระวรฤทธิ์ โอภาโส





โครงการศึกษาพระอภิธรรม ประจำปี 2566

ปริเฉทที่ 9 วิปัสสนากรรมฐาน

วันอาทิตย์ที่    14  พฤษภาคม  2566 

โดย...พระวรฤทธิ์ โอภาโส

ณ ห้องสารนาถ ชั้น 3  อาคารบุญยง ว่องวานิช

ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

เลขที่ 4 เพชรเกษม 54 แยก 6 บางด้วน  เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160


******************************************************************

สามารถเข้าเรียนอภิธรรมวันอาทิตย์ (เช้า) ผ่านโปรแกรม ZOOM

โดย พระวรฤทธิ์ โอภาโส ตลอดทั้งปี

ได้ที่...
Join Zoom Meeting
https://zoom.us/j/3577655520?pwd=NFlTUk1xQzZDTGdHUjlsOUtMU1QyQT09#success


Meeting ID: 357 765 5520

Passcode: 1234









  ขอขอบคุณข้อมูลจาก : Youtube  ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

https://www.youtube.com/user/ybat1/videos

4
ตอนที่ ๓๙ นามกัณฑ์ ๒.๘   อัพพยศัพท์  ๐๖





คลิกชมได้ที่ Facebook ===> https://web.facebook.com/Viharnthum/videos/773890144274611/



5
ตอนที่ ๓๘ นามกัณฑ์ ๒.๘   อัพพยศัพท์  ๐๕





คลิกชมได้ที่ Facebook ===> https://web.facebook.com/Viharnthum/videos/796234115440547/



6
ตอนที่ ๓๗ นามกัณฑ์ ๒.๘   อัพพยศัพท์  ๐๔





คลิกชมได้ที่ Facebook ===> https://web.facebook.com/Viharnthum/videos/144465655306555/



7
ตอนที่ ๓๖ นามกัณฑ์ ๒.๘   อัพพยศัพท์  ๐๓





คลิกชมได้ที่ Facebook ===> https://web.facebook.com/Viharnthum/videos/806993227293381/



8
ตอนที่ ๓๕ นามกัณฑ์ ๒.๘   อัพพยศัพท์  ๐๒





คลิกชมได้ที่ Facebook ===> https://web.facebook.com/Viharnthum/videos/1892461701125477/



9



  เพียรที่ถูกต้อง

“วิริยะ” มีความเพียร
เพียรในที่นี้ ไม่ใช่ว่า..นั่งนาน! เดินนาน!

เพียร คือ

1. กุศลอะไรที่ยังไม่เกิด.. ให้เกิดขึ้นมา

2. กุศลอะไรที่เกิดแล้ว.. รักษาเอาไว้

3. อกุศลอะไรที่มีอยู่.. ละไป

4. อกุศลอะไรที่ละได้แล้ว.. ระวัง! อย่าให้เกิดอีก


สรุปง่ายๆ คือ
"ทำกุศลให้เกิด ทำอกุศลให้หายไป"



เพียร.. อย่างนี้!
จึงจะเรียกว่า.. เพียรที่ถูกต้อง



ทุกครั้งที่มีกิเลสเกิดขึ้นมา
แล้วรู้ทัน! กิเลสจะดับให้ดู!!
นี่คือ ได้ความเพียรแล้ว
ในขณะที่ได้ความเพียรแล้ว
มีการเจริญสติด้วย

ธรรมบรรยายโดย
พระอาจารย์กฤช นิมฺมโล
ณ บ้านจิตสบาย
วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖

ลิงค์ : ===> https://youtu.be/hWLBV0pl1Y0


☆ ☆ ☆ ☆ ☆ ☆ -----------------------------------☆ ☆ ☆ ☆ ☆ ☆

ขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก Facebook Nimmalo.com
https://web.facebook.com/nimmalo

10



คติธรรม เนื่องในวันวิสาขบูชา ๒๕๖๖

เจ้าพระคุณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ประทานพระคติธรรม เนื่องในวันวิสาขบูชา ๒๕๖๖ ซึ่งตรงกับวันที่ มิถุนายนนี้ ความว่า “ดิถีวิสาขบูชา คล้ายดีถีประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้เวียนมาบรรจบอีกคำรบหนึ่ง ควรที่พุทธบริษัททั้งหลาย จักได้พร้อมเพรียงกันประกอบกุศลกิจ กระทำสักการะบูชาพระรัตนตรัยเป็นกรณีพิเศษ

วันวิสาขบูชา เป็นเหตุช่วยเตือนใจให้พุทธบริษัท น้อมระลึกถึง "พระพุทธคุณ" ซึ่งประมวลสรุปลงได้สามประการ ได้แก่

๑. พระปัญญาคุณ พระพุทธเจ้า ทรงพระญาณหยั่งรู้การเกิด และการตายของสัตว์โลก รู้การหลุดพ้นจากกิเลส และทรงค้นพบความจริงอันยิ่งใหญ่ ๔ ประการ คือ รู้ทุกข์ รู้เหตุที่ทำให้เกิดความทุกข์ รู้ความดับทุกข์ และรู้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์,

๒. พระบริสุทธิคุณ พระพุทธเจ้าทรงบำเพ็ญเพียรจนได้บรรลุโมกขธรรม ทรงหลุดพ้นจากกิเลส คือความโลภ ความโกรธ และความหลง อันเป็นเครื่องเศร้าหมองได้อย่างสะอาดหมดจดสิ้นเชิง

๓. พระมหากรุณาคุณ หลังจากที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว ได้ทรงพระกรุณาสั่งสอนเทวดา และมนุษย์ทั้งหลายให้ได้รู้แจ้งธรรมตามที่พระองค์ตรัสรู้ โดยพระพุทธประสงค์ให้หมู่สัตว์หลุดพ้นจากห้วงทุกข์ เป็นเวลาเนิ่นถึง ๔๕ ปี ตราบกระทั่งเสด็จดับขันธปรินิพพาน

เมื่อสาธุชนได้ตระหนักซาบซึ้งถึงพระพุทธคุณทั้งสามประการดั่งนี้แล้ว จึงพึงบูชาพระพุทธคุณ โดยการอุทิศชีวิตพากเพียรศึกษา และอบรมพัฒนาตนเองให้เฉลียวฉลาดในทางธรรม หมั่นฝึกฝนรักษากายจริยา วจีจริยา และมโนจริยา ให้มั่นคงอยู่ในธรรมสุจริต มีดวงจิตเอิบอาบด้วยความกรุณา แผ่ความปรารถนาดีไปยังสรรพชีวิตผู้ร่วมเกิดแก่เจ็บตายโดยเสมอหน้า จัดเป็น “ปฏิบัติบูชา” ที่พึงกระทำต่อพระรัตนตรัย อันจักนำมาซึ่งความรุ่งเรืองไพศาลแห่งพระบวรพุทธศาสนาสืบไป

จิรํ ติฏฺฐตุ สทฺธมฺโม ธมฺเม โหนฺตุ สคารวา. ขอพระสัทธรรมจงดํารงคงมั่นอยู่ตลอดกาลนาน และขอสาธุชนทั้งหลาย จงมีความเคารพในพระธรรมนั้น เทอญ.”

ที่มา  ===>  https://www.thansettakij.com/news/royal/566994



11



วันวิสาขบูชา

"วิสาขบูชา" หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญเดือน วิสาขบูชา ย่อมาจาก " วิสาขปุรณมีบูชา " แปลว่า " การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ " ถ้าปีใดมีอธิกมาส คือ มีเดือน สองหน ก็เลื่อนไปเป็นกลางเดือน

ความสำคัญ วันวิสาขบูชา เป็นวันสำคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันที่พระพุทธเจ้าประสูติ คือ เกิด ได้ตรัสรู้ คือ สำเร็จ ปรินิพพาน คือ ดับ เกิดขึ้นตรงกันทั้ง คราว คือ

๑. เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติที่พระราชอุทยานลุมพินีวัน ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์กับเทวทหะ เมื่อเช้าวันศุกร์ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ปีจอ ก่อนพุทธศักราช ๘๐ ปี

๒. เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะตรัสรู้ เป็นพระพุทธเจ้าเมื่อพระชนมายุ ๓๕ พรรษา ณ ใต้ร่มไม้ศรีมหาโพธิ์ ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม ในตอนเช้ามืดวันพุธ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ปีระกา ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี หลังจากออกผนวชได้ ๖ ปี ปัจจุบันสถานที่ตรัสรู้แห่งนี้เรียกว่า พุทธคยา เป็นตำบลหนึ่งของเมืองคยา แห่งรัฐพิหารของอินเดีย

๓. หลังจากตรัสรู้แล้ว ได้ประกาศพระศาสนา และโปรดเวไนยสัตว์ ๔๕ ปี พระชนมายุได้ ๘๐ พรรษา ก็เสด็จดับขันธปรินิพพาน เมื่อวันอังคาร ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ปีมะเส็ง ณ สาลวโนทยาน ของมัลลกษัตริย์ เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ (ปัจจุบันอยู่ในเมืองกุสีนคระ แคว้นอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย)

—————————————————————-

การบูชาในพระพุทธศาสนามีด้วยกัน 2 ประการ คือ
~อามิสบูชา การบูชาด้วยวัตถุสิ่งของ เช่น ดอกไม้ ธูปเทียม ของหอม เป็นต้น
~ปฏิบัติบูชา การบูชาด้วยการกระทำตามที่พระพุทธองค์ทรงตรัสสอน เช่น มีสติรู้ กาย เวทนา จิต ธรรม รู้สภาวธรรมที่เกิดขึ้นที่กายที่ใจตามความเป็นจริง เห็นการเกิดดับเปลี่ยนแปลง ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ไม่ใช่ตัวตนของเรา เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ตามเหตุตามปัจจัย เป็นต้น

~การบูชาทั้ง 2 ประการนี้ ล้วนมีอานิสงส์ต่อผู้บูชาทั้งนั้น
แต่พระผู้พระพุทธองค์ทรงยกย่องการปฏิบัติบูชาเหนือสิ่งอื่นใด


ลุงยุทธ…สะดุดคิด


----------------------- -----------------------

ขอบคุณข้อมูล : Facebook อ. ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง
https://www.facebook.com/theerayuth.praft

12



วันวิสาขบูชา

"วิสาขบูชา" หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญเดือน วิสาขบูชา ย่อมาจาก " วิสาขปุรณมีบูชา " แปลว่า " การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ " ถ้าปีใดมีอธิกมาส คือ มีเดือน สองหน ก็เลื่อนไปเป็นกลางเดือน

ความสำคัญ วันวิสาขบูชา เป็นวันสำคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันที่พระพุทธเจ้าประสูติ คือ เกิด ได้ตรัสรู้ คือ สำเร็จ ปรินิพพาน คือ ดับ เกิดขึ้นตรงกันทั้ง คราว คือ

๑. เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติที่พระราชอุทยานลุมพินีวัน ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์กับเทวทหะ เมื่อเช้าวันศุกร์ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ปีจอ ก่อนพุทธศักราช ๘๐ ปี

๒. เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะตรัสรู้ เป็นพระพุทธเจ้าเมื่อพระชนมายุ ๓๕ พรรษา ณ ใต้ร่มไม้ศรีมหาโพธิ์ ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม ในตอนเช้ามืดวันพุธ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ปีระกา ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี หลังจากออกผนวชได้ ๖ ปี ปัจจุบันสถานที่ตรัสรู้แห่งนี้เรียกว่า พุทธคยา เป็นตำบลหนึ่งของเมืองคยา แห่งรัฐพิหารของอินเดีย

๓. หลังจากตรัสรู้แล้ว ได้ประกาศพระศาสนา และโปรดเวไนยสัตว์ ๔๕ ปี พระชนมายุได้ ๘๐ พรรษา ก็เสด็จดับขันธปรินิพพาน เมื่อวันอังคาร ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ปีมะเส็ง ณ สาลวโนทยาน ของมัลลกษัตริย์ เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ (ปัจจุบันอยู่ในเมืองกุสีนคระ แคว้นอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย)

—————————————————————-

การบูชาในพระพุทธศาสนามีด้วยกัน 2 ประการ คือ
~อามิสบูชา การบูชาด้วยวัตถุสิ่งของ เช่น ดอกไม้ ธูปเทียม ของหอม เป็นต้น
~ปฏิบัติบูชา การบูชาด้วยการกระทำตามที่พระพุทธองค์ทรงตรัสสอน เช่น มีสติรู้ กาย เวทนา จิต ธรรม รู้สภาวธรรมที่เกิดขึ้นที่กายที่ใจตามความเป็นจริง เห็นการเกิดดับเปลี่ยนแปลง ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ไม่ใช่ตัวตนของเรา เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ตามเหตุตามปัจจัย เป็นต้น

~การบูชาทั้ง 2 ประการนี้ ล้วนมีอานิสงส์ต่อผู้บูชาทั้งนั้น
แต่พระผู้พระพุทธองค์ทรงยกย่องการปฏิบัติบูชาเหนือสิ่งอื่นใด


ลุงยุทธ…สะดุดคิด


----------------------- -----------------------

ขอบคุณข้อมูล : Facebook อ. ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง
https://www.facebook.com/theerayuth.praft

13
ธรรมบรรยาย เนื่องในวันวิสาขบูชา(ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน๗) ณ วัดจากแดง

บรรยายโดย พระราชวัชรบัณฑิต(ประนอม ธมฺมาลงฺกาโร)

ครั้งที่ ๑

คลิกฟังได้ที่
===> https://web.facebook.com/radiobodhiyalai/videos/590096322956494

ครั้งที่ ๒

คลิกฟังได้ที่ ===> https://web.facebook.com/radiobodhiyalai/videos/1371009780114437




--------------------- ❁ ❁ ❁--------------------- ❁ ❁ ❁-------------------- ❁ ❁ ❁---------------------

ขอบคุณข้อมูลจาก Facebook วัดจากแดงและสถาบันโพธิยาลัย
https://web.facebook.com/radiobodhiyalai

14



  สุดท้ายนี้อยากจะกราบขอพระอาจารย์
ให้กำลังใจให้กับญาติโยมแล้วก็ตัวกระผมด้วย
ในการศึกษาปฏิบัติธรรมต่อไปครับพระอาจารย์ครับ

  พระมหากีรติ : ก็ขออนุโมทนา
กับท่านพระมหาฟูกิจและกลุ่มเพื่อนๆ สหธรรมิก
หรือว่าเพื่อนญาติโยมฆราวาสที่ได้สนใจ
ศึกษาธรรมะเป็นระบบซึ่งก็คิดว่าก็สำคัญ


  ปัจจุบันนี้เราก็ให้ความสำคัญกับ...
ถือว่าเป็นครูบาอาจารย์เป็นเฉพาะสาย
บางทีก็ทำให้มันแยกออกไปแล้วก็
บางทีสื่อสารกันยากนะว่า เออ
ตกลงอย่างไร มันเป็นอย่างไร

  ทีนี้ถ้าเราพอมีการศึกษาเป็นระบบ
ตามระบบครูบาอาจารย์ที่ท่านวางแผนไว้
มีการศึกษาอย่างนี้ๆ ก่อนเป็นเรื่องเป็นราวไป
เราก็จะได้อย่างน้อยคุยกันก็จะได้ใช้ศัพท์ที่มัน
...ใช้คำจำกัดความที่มันตรงกัน
แล้วเวลาปฏิบัติเราก็จะได้มีข้ออ้างอิงได้
เราเรียนรู้ แล้วเราก็มาปฏิบัติมีหลักเทียบนะ
ว่าสมัยก่อนเขาคงปฏิบัติมาแบบเดียวกันนี่แหละ
เขาเจออุปสรรคอะไรๆ แล้วเขาก็ได้บันทึกไว้หมดแล้วล่ะ


แล้วบางทีตัวเราก็มีการไปศึกษาไปเรียนรู้
ขณะเดียวกันเราก็เอามาปฏิบัติด้วยนะ
อย่ารู้เฉยๆ อย่าเป็นเฉพาะในคัมภีร์
เราก็ต้องเอามาน้อมนำมาปฏิบัติ
แล้วก็เช็คซึ่งกันและกันนะ


เวลาเราปฏิบัติเราก็จะรู้ว่า
อ้อ สิ่งนี้เรายังขาดไป
เราก็ต้องไปดูเพิ่มในสูตรนี้
แล้วมันก็จะเช็คซึ่งกันและกัน


ดังนั้นก็ขออวยพรแล้วก็ขออนุโมทนา
ขอให้ได้มีโอกาสที่จะศึกษาธรรมะที่ถูกต้องนะ
แล้วก็น้อมนำเอาความรู้ไป...

คนที่ได้ประโยชน์ได้ก็คือพวกเราเองนะ
แต่ว่าคนที่อยู่รอบข้างเรา
อย่างน้อยเราก็ถ้าเราเข้าใจ
เราก็สามารถจะเผยแผ่


  อันหนึ่งที่ได้จากการเรียนก็คือ
เราก็ไม่ได้พูดคำของเราเอง เราก็มีเทียบอีก
แล้วเราก็เหมือนกับว่าเราถ้าพูดของเราเอง
บางทีเราก็อาจจะผิดได้เพราะเราก็ยังใหม่ในการปฏิบัติ


  เหมือนกับว่าพอมีคำของครูบาอาจารย์
ที่ท่านเป็นหลักเอาไว้
เราก็น้อมนำมาชี้ชวนกันนะให้ดูว่า
ท่านมีนัยอย่างนี้ๆ นะ แล้วเราก็พยายาม
ปฏิบัติไปด้วยกัน แล้วก็ถือว่าเป็นกัลยาณมิตร
ร่วมกันศึกษาไปพร้อมๆ กัน


  อันนี้ก็เรียกว่าเป็นการที่จะรักษาศาสนาไว้ได้
ไม่ได้ปล่อยให้อยู่เฉพาะในหนังสือ
แต่ว่าเอามาสวด เอามาสาธยาย
เอามาเรียน มาสอน มาคุยกัน

อันนี้หมายความว่าอะไรคำนี้นะ
อรรถมันว่าอย่างไรอะไรอย่างนี้ แล้วก็คุยๆ กัน


  แล้วเราก็จะได้เพิ่มความรู้มากขึ้น
สิ่งนี้หมายถึงว่าเป็นเขาเรียกคัมภีร์มันลึกซึ้ง
ไม่ใช่ว่าคำที่มันมาแต่งขึ้นมาใหม่ๆ
แล้วมันก็ยังไม่ได้มีความหมายลึกซึ้งอะไร
มันก็เหมือนกับเป็นการเล่นคำเฉยๆ
มันไม่ได้ไปไหน
แต่ว่าเรามีคำที่มันมีอมความลึกซึ้งอยู่
มันเป็นคัมภีร์ เราเข้าไปศึกษา
แล้วก็ไปคิดแบบนั้น แล้วเราก็มาคุยกัน
ระหว่างทางในการปฏิบัติ


คิดว่ามันเป็นการเขาเรียกว่ามีความสุข
มีความ... ที่เราได้เรียนรู้อะไรใหม่ๆ ทุกๆ วัน
ในการที่ได้เข้าถึงอรรถ เข้าถึงธรรมะ สภาวธรรม
แล้วก็ขออวยพรให้ทุกๆ ท่านได้ประสบความสำเร็จ


  พระมหาฟูกิจ : ครับ กราบขอบพระคุณ
พระอาจารย์มหากีรติหรือพระอาจารย์ต้นมากๆ
เลยครับผม แล้วญาติโยมที่สนใจพระธรรมเทศนา
ของพระอาจารย์ต้นก็จะมีอยู่ใน YouTube
ของชมรมกัลยาณธรรม แล้วก็หนังสือ
ที่พระอาจารย์ได้เรียบเรียงไว้ทั้งสูตรหายใจ
แล้วก็มรณสติ พระอาจารย์ก็มีไฟล์ดาวน์โหลดอยู่ด้วย


  ถ้าไปติดตามอยู่ในเพจของกัลยาณธรรม
หรือว่าทาง YouTube ก็จะมีไฟล์เป็นเอกสาร
ซึ่งพระอาจารย์ก็จะอ้างอิงเอาจากพระไตรปิฎก
หยิบมาแล้วก็มาใช้วิธีการที่พระอาจารย์ท่านพูด
บรรยายให้เราฟังนี่แหละนะว่าขยายคำบาลีอย่างไร
อภิธรรมอย่างไร เพื่อให้สอบทานความเข้าใจกับตัวเราเอง


  เมื่อเราศึกษาแล้วก็จะได้เข้าใจพุทธพจน์
แล้วก็น้อมเข้ามาใส่ตัวได้ง่ายด้วย
ในวันนี้มีประโยชน์มากๆ ครับ


………

  แนวทางและวิธีการศึกษาปริยัติ
โดย พระมหากีรติ ธีรปัญโญ
สนทนากับ พระมหาฟูกิจ ชุติปัญโญ

วันอาทิตย์ที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๖๓



---------------------------------------------------------------

ขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก Facebook Kanlayanatam
https://web.facebook.com/profile.php?id=100064859643754

15




เรียนอภิธรรม จะไปใจร้อนไม่ได้
เหมือนกับการปูพื้นฐาน รู้ไปทีละคำ
ค่อยๆ รู้ แต่ว่าเวลารู้ได้เข้าใจได้แล้ว
จะมีหลักสำคัญ ก็สามารถเข้าใจธรรมได้ดี

แต่ถ้าเราไม่ได้ลงทุนอย่างนั้น
เราจะไปรู้ ทีละอัน...ทีละอัน
บางทีเราก็ต้องขยันหน่อยน่ะ
เวลาเจอปัญหาอะไร
เราก็ต้องกลับไปค้น...กลับไปค้น
เพื่อเราจะเข้าใจว่าสิ่งที่เข้าใจนี้มันถูกนะ
คำๆ เดียวกันนี่ เราอาจเข้าใจผิดก็ได้ใช่ไหม
เราก็ต้องกลับไปค้นคว้ามากหน่อย



แต่ว่าถ้าเราเรียนอภิธรรมนี่
จะเป็นระบบๆ แล้วเราก็ค่อยๆ
เข้าใจไปอย่างนั้นไปเลยก็ได้

แต่ก็ต้องใช้เวลาสักนิดหนึ่ง
แต่ว่าอาตมาว่ามันคุ้มค่านะ
ถ้าเราอยากเรียนธรรมะนี่
...อภิธรรมก็น่าจะเรียนก่อน
จริงๆ ก็ไม่ได้ใช้เวลานานอะไรเท่าไหร่


จะได้มีหลัก พอได้อภิธรรมแล้ว
ก็เอาหลักไปจับธรรมะอย่างอื่นได้

  แล้วจะไปปฏิบัติ ไปอะไรต่อก็ได้นะ
ก็จะได้มีหลักอภิธรรมเป็นตัวยึดไว้
ส่วนบาลี เรียนไว้ก็ดี จะได้เข้าใจศัพท์
อย่างน้อยก็ให้ได้พื้นฐานไว้หน่อยนะ

………

  แนวทางและวิธีการศึกษาปริยัติ
โดย พระมหากีรติ ธีรปัญโญ
สนทนากับ พระมหาฟูกิจ ชุติปัญโญ

วันอาทิตย์ที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๖๓

หน้า: [1] 2 3 ... 903