แสดงกระทู้

ส่วนนี้จะช่วยให้คุณสามารถดูกระทู้ทั้งหมดสมาชิกนี้ โปรดทราบว่าคุณสามารถเห็นเฉพาะกระทู้ในพื้นที่ที่คุณเข้าถึงในขณะนี้


ข้อความ - ยาใจ

หน้า: [1] 2 3 ... 886
1
  ขอเชิญร่วมรับฟังเทศน์มฆมาณพ ปีที่ ๕ 



2



วัตรบท หลักปฏิบัติ หรือข้อที่ถือปฏิบัติประจำอย่าง ที่ทำให้มฆมาณพได้เป็นท้าวสักกะหรือพระอินทร์คือ
๑. มาตาเปติภโร เลี้ยงมารดาบิดา
๒. กุเลเชฏฺฐาปจายี เคารพผู้ใหญ่ในตระกูล
๓. สณฺหวาโจ พูดคำสุภาพอ่อนหวาน
๔. อปิสุณวาโจ หรือ เปสุเณยฺยปฺปหายี ไม่พูดส่อเสียด พูดสมานสามัคคี
๕. ทานสํวิภาครโต หรือ มจฺเฉรวินย ชอบเผื่อแผ่ให้ปัน ปราศจากความตระหนี่
๖. สจฺจวาโจ มีวาจาสัตย์
๗. อโกธโน หรือ โกธาภิกู ไม่โกรธ ระงับความโกรธได้


ยุวพุทธฯ บ้านแห่งธรรม ขอเชิญร่วมรับฟังเทศน์มฆมาณพ ปีที่ ๕

⏰วันอาทิตย์ที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๖

เวลา ๐๗.๓๐-๑๗.๐๐ น.

ลงทะเบียนเข้าร่วมงานฟรี https://shorturl.asia/TjwzD

หรือโทร ๐๒ ๔๕๕ ๒๕๒๕

ณ ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ซอยเพชรเกษม ๕๔

เพื่อเป็นการสืบสานประเพณีงานเทศน์ที่มาแต่โบราณ

สอบถามรายละเอียดได้ที่ ☎ โทร. ๐๒ ๔๕๕ ๒๕๒๕ หรือ Line : https://lin.ee/hvdyClt

ขออนุโมนาบุญในกุศลจิตของสาธุชนทุกท่าน






--------------------------------------- --------------------------------

ขอบคุณข้อมูลจาก Facebook ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ย.พ.ส.)
https://web.facebook.com/ybatpage

3
07 (19/03/66) อภิธรรม ปริจเฉทที่ 9  โดย  พระวรฤทธิ์ โอภาโส





โครงการศึกษาพระอภิธรรม ประจำปี 2565

ปริเฉทที่ 9 วิปัสสนากรรมฐาน

วันอาทิตย์ที่   12  มีนาคม  2566

โดย...พระวรฤทธิ์ โอภาโส

ณ ห้องสารนาถ ชั้น 3  อาคารบุญยง ว่องวานิช

ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

เลขที่ 4 เพชรเกษม 54 แยก 6 บางด้วน  เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160


******************************************************************

สามารถเข้าเรียนอภิธรรมวันอาทิตย์ (เช้า) ผ่านโปรแกรม ZOOM

โดย พระวรฤทธิ์ โอภาโส ตลอดทั้งปี

ได้ที่...
Join Zoom Meeting
https://zoom.us/j/3577655520?pwd=NFlTUk1xQzZDTGdHUjlsOUtMU1QyQT09#success


Meeting ID: 357 765 5520

Passcode: 1234









  ขอขอบคุณข้อมูลจาก : Youtube  ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

https://www.youtube.com/user/ybat1/videos

4
06 (12/03/66) อภิธรรม ปริจเฉทที่ 9  โดย  พระวรฤทธิ์ โอภาโส





โครงการศึกษาพระอภิธรรม ประจำปี 2565

ปริเฉทที่ 9 วิปัสสนากรรมฐาน

วันอาทิตย์ที่   12  มีนาคม  2566

โดย...พระวรฤทธิ์ โอภาโส

ณ ห้องสารนาถ ชั้น 3  อาคารบุญยง ว่องวานิช

ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

เลขที่ 4 เพชรเกษม 54 แยก 6 บางด้วน  เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160


******************************************************************

สามารถเข้าเรียนอภิธรรมวันอาทิตย์ (เช้า) ผ่านโปรแกรม ZOOM

โดย พระวรฤทธิ์ โอภาโส ตลอดทั้งปี

ได้ที่...
Join Zoom Meeting
https://zoom.us/j/3577655520?pwd=NFlTUk1xQzZDTGdHUjlsOUtMU1QyQT09#success


Meeting ID: 357 765 5520

Passcode: 1234









  ขอขอบคุณข้อมูลจาก : Youtube  ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

https://www.youtube.com/user/ybat1/videos

5
คลิกใจให้ธรรม เมื่อวิบากให้ผล  (พระอาจารย์กฤช นิมฺมโล) (T.323) 19/03/66





ขอบคุณข้อมูลจาก :  Youtube  คลิกใจให้ธรรม

คลิกชมทั้งหมดได้ที่ ===> https://www.youtube.com/channel/UCE7svrdSu8jeu16d9vx54Lg

6
  คลิกใจให้ธรรม_ตามรอยพระศาสดา บูชาพระคุณของพระพุทธเจ้า (พระมหาวิเชียร ชินวํโส) T.322 12/03/66







ขอบคุณข้อมูลจาก :  Youtube  คลิกใจให้ธรรม



คลิกชม VDO ทั้งหมดได้ที่ ===> https://www.youtube.com/c/ClickJai


7
รู้ทันฝุ่น PM2.5 ภายในบ้าน : คลิป MU [by Mahidol Channel]



คลิกชมได้ที่ ===> https://web.facebook.com/watch/?v=2433562783563057&ref=sharing&_rdc=1&_rdr



ขอบคุณข้อมูลจาก Facebook Mahidol Channel
https://web.facebook.com/mahidolchannel





8






กราบขอบพระคุณอาจารย์เป็นอย่างสูงที่อนุญาตให้นำเผยแผ่ที่เว็บไซต์น้ำใจธรรมค่ะ

และขออนุโมทนาบุญด้วยค่ะ


Facebook ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง

https://web.facebook.com/theerayuth.praft



10





  วิธีล้างจมูกที่ถูกต้อง   >>    https://youtu.be/cSCRXFlqgfc





ขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก Facebook We Mahidol

https://web.facebook.com/WeMahidol

และ Youtube We Mahidol





13
ธรรมละนิด​ :    บ่วงกรรมของครอบครัว   โดย พระอาจารย์ชยสาโร


มีคำแนะนำอย่างไรเกี่ยวกับการปลดทุกข์ที่เกิดจากบ่วงกรรมของครอบครัว

  เรื่องกรรม ผลกรรม ผลกรรมของใครที่เราก็ยังไม่มั่นใจว่าจะเป็นเรื่องของกรรมเก่ามากน้อยแค่ไหน และก็เป็นเรื่องการกระทำในปัจจุบันมากน้อยแค่ไหน แต่ถ้าเป็นผลกรรมจริงๆ แล้ว ก็ถือว่าเราต้องปฏิบัติเพื่อไม่ให้เป็นทุกข์กับกรรมเก่า หรือไม่สร้างกรรมใหม่ที่จะทำให้ผลกรรมเก่ากำเริบ พยายามไม่เป็นทุกข์ ไม่สร้างทุกข์ หรือเป็นทุกข์ให้น้อยที่สุด

  ฉะนั้นผลกรรมเก่าที่เรียกว่า ‘วิบากกรรม’ ก็เป็นความลำบากลำบน พอมันมีปัญหามันก็ชวนให้น้อยใจ เสียใจ โกรธ แค้น ทะเลาะวิวาท สิ่งเหล่านั้นมันไม่ใช่ว่าเป็นผลกรรม มันก็เป็นปฏิกิริยาต่อกรรมเก่าด้วยจิตที่ขาดธรรมะเป็นที่พึ่ง เพราะว่าผู้ที่ตั้งสติ เป็นผู้ทรงศีล เป็นผู้ฝึกตน จะถือว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งท้าทาย “โอ้ ถ้าเป็นอย่างนี้ชวนให้หดหู่เนาะ มันชวนให้เศร้าเนาะ มันชวนให้น้อยใจเนาะ” แต่เราจะหดหู่หรือเราจะน้อยใจนี่มันไม่ได้อยู่ที่สิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิต แต่อยู่ที่ใจเรา ซึ่งเราฝึกดูแลจิตใจตัวเองก็ไม่ต้องเป็นทุกข์กับมันได้ มันลำบากแต่จิตใจก็ยังมีความสุขได้ หรืออย่างน้อยก็ไม่ต้องเป็นทุกข์กับมัน หรือถ้าเป็นทุกข์ก็ทุกข์น้อย

  สิ่งที่ต้องย้ำก็คือ ‘ปัญหากับตัวทุกข์ ไม่ใช่ประเด็นเดียวกัน’ มันก็เป็นเรื่องที่เรายังปฏิบัติต่อปัญหายังไม่ค่อยเป็น เพราะเราขาดการฝึกจิตพอที่พร้อมที่จะรับมือกับปัญหา


พระอาจารย์ชยสาโร



คลิกชมได้ที่ ===> https://www.youtube.com/watch?v=7xlwQJbiXNg





------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอขอบคุณข้อมูล Youtube  ธรรมะ โดย พระอาจารย์ชยสาโร/ Dhamma by Ajahn Jayasaro

  ชมทั้งหมดได้ที่ ===> https://www.youtube.com/user/ThawsiSchool/videos

14
2566.02.19 ธรรมคุณ โดย พระอาจารย์ชยสาโร

คลิกชมได้ที่  ===> https://www.youtube.com/watch?v=Ui8afifUVXg


  2566.02.19 นำสมาธิภาวนา โดย พระอาจารย์ชยสาโร

คลิกชมได้ที่ ===> https://www.youtube.com/watch?v=eRAWqSrsStI



2566.03.06 ประตูออกจากทุกข์ โดย พระอาจารย์ชยสาโร

คลิกชมได้ที่ ===> https://www.youtube.com/watch?v=Jkw6aYA3tjo


2566.03.06 นำสมาธิภาวนา โดย พระอาจารย์ชยสาโร

คลิกชมได้ที่ ===> https://www.youtube.com/watch?v=oMYdwrmM6wk





**--------------------------------------------------------------------------------------------------------------**

  ขอขอบคุณข้อมูล Youtube  ธรรมะ โดย พระอาจารย์ชยสาโร/ Dhamma by Ajahn Jayasaro

  ชมทั้งหมดได้ที่ ===> https://www.youtube.com/user/ThawsiSchool/videos

15
ธรรมละนิด​ :   นั่งสมาธิให้ถูกต้อง    โดย พระอาจารย์ชยสาโร


นั่งสมาธิให้ถูกต้องควรทำอย่างไรนั่งนานและบ่อยแค่ไหน


การนั่งที่ถูกต้อง เริ่มต้นต้องสัมมาทิฏฐิ ‘สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ’ โดยเฉพาะในประเด็นที่ว่า ‘เราไม่ได้นั่งเพื่อจะเอาอะไร เพื่อจะได้อะไร เพื่อจะเป็นอะไร’ นั่งเพื่อปล่อยวางเหตุให้เกิดทุกข์ เรื่องการจะนั่งก็ควรจะหาที่ที่สงบเท่าที่จะสงบได้ ถ้าอยู่ในบ้านมุมใดมุมหนึ่งที่เงียบหน่อย แล้วก็ใช้มุมนั้นหรือถ้ามีบุญเป็นห้องพระก็ยิ่งดี แต่ถ้าไม่มีก็มุมใดมุมหนึ่งที่ใช้เพื่อการนั่งสมาธิหรือการทำวัตรสวดมนต์โดยเฉพาะ ไม่ใช่เรื่องอื่น แล้วพอมานั่งตรงนั้นมันจะเป็นจิตวิทยาจะรู้สึกว่า เออ...นี่ก็คือที่นั่งของเรา

ก่อนจะนั่ง ถ้าทำวัตรสวดมนต์ เล็กๆ น้อยๆ เพื่อเปลี่ยนอารมณ์ จากอารมณ์เมื่อกี้นี้ อารมณ์ทางโลก ถ้านั่งหลับตาทันทีมันก็ยังมีความคิดที่ยังค้างอยู่ในสมอง ก็เปลี่ยน กราบไหว้พระศรีรัตนตรัยก่อน

นั่งการนั่งนี้ เรื่องจะวางแขนวางขานี่ไม่สำคัญมาก จะนั่งเก้าอี้ก็ได้ แต่ต้องรู้สึกเป็นตัวของตัว ไม่พิงสิ่งใด สำคัญที่กระดูกสันหลังให้ตรง ตรงแต่ไม่เกร็ง รู้สึกมันมีอะไรมาดึงศีรษะขึ้นไปถึงเพดาน นั่งตัวตรง ถ้าง่วงไม่ต้องหลับตาก็ได้ ถ้าไม่ง่วงหลับตาจะดีกว่า

การนั่งสมาธิคือการเจริญสตินั่นเอง ซึ่งต้องมีเครื่องระลึกของสติ เช่น ลมหายใจ และสิ่งท้าทายก็คือทำอย่างไรเราจึงจะสร้างความสัมพันธ์ระหว่างจิต คือ ‘ตัวรู้’ กับ ‘สิ่งรู้’ หรือเครื่องระลึกของสติ เช่น ลมหายใจ ในลักษณะที่พอใจกับลมหายใจ ไม่อยากไปคิดเรื่องอื่น พอใจ มีความสุขกับงาน

ในเบื้องต้นต้องป้องกันไม่ให้กิเลสเข้ามาแทรกแซง แล้วเมื่อจิตเผลอไปซึ่งต้องมีแน่นอน ก็ต้องมีการฝึก การศึกษา ในการปล่อยวางกิเลสที่เข้ามาครอบงำ ในขณะเดียวกันเราก็มุ่งที่สติ สัมปชัญญะ ความรู้ตัว และอาตาปี ความเพียรที่มีความพอดีระหว่างความตั้งใจและความผ่อนคลาย ความพอดีจะรู้ได้ว่ามันเป็นความเพียรที่พอดีกับการปล่อยวางกิเลส เรายังจะต้องใช้ความอดทน ความสันโดษ ความเมตตา คุณธรรมข้ออื่นๆ และเมื่อจิตเริ่มสงบแล้ว เราก็ต้องพยายามรักษาคุณธรรมที่กำลังปรากฏอยู่ในจิต เช่น สติ เป็นต้น ให้เจริญยิ่งๆ ขึ้นไป

สรุปแล้วว่า ในเบื้องต้นเราก็ถือว่า ‘การนั่งสมาธิคือการเจริญสติ โดยมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นเครื่องระลึกของสติ’ สิ่งที่สำคัญในเบื้องต้นคือการฝึกป้องกันไม่ให้กิเลสเข้ามาครอบงำจิต สอง ถ้ากิเลสครอบงำจิตจนได้ ต้องฝึกในการปล่อยวาง สาม ต้องปลูกฝังคุณงามความดีที่จะนำไปสู่ความสงบและปัญญา และสี่ เมื่อคุณธรรมต่างๆ เริ่มปรากฏ เราต้องศึกษาเรียนรู้เพื่อจะรักษามันไว้และทำให้มันเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป นี่คือการทำสมาธิในเบื้องต้น ไม่ต้องหักโหมมาก เริ่มต้น ห้านาที สิบนาที ค่อยๆ เพิ่ม ถ้าบังคับมากจะไม่มีความสุข ถ้าไม่บังคับเสียเลยนี่ก็คงไม่เจริญ คงต้องหาความพอดี

พระอาจารย์ชยสาโร



คลิกชมได้ที่ ===> https://www.youtube.com/watch?v=5AnzwbpTK1w




------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอขอบคุณข้อมูล Youtube  ธรรมะ โดย พระอาจารย์ชยสาโร/ Dhamma by Ajahn Jayasaro

  ชมทั้งหมดได้ที่ ===> https://www.youtube.com/user/ThawsiSchool/videos

หน้า: [1] 2 3 ... 886