ผู้เขียน หัวข้อ: ยืดเส้น ยืดสาย พิชิต โรคออฟฟิศซินโดรม  (อ่าน 65169 ครั้ง)

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด















  ขอขอบคุณข้อมูลจาก สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดล




« แก้ไขครั้งสุดท้าย: สิงหาคม 28, 2018, 06:43:08 am โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด


















  ขอขอบคุณข้อมูลจาก สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดล




« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มีนาคม 15, 2018, 07:46:40 am โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด
ชวนกันเดิน (20 เหตุผลอยากชวนทุกคนเดิน)
« ตอบ #62 เมื่อ: มีนาคม 27, 2018, 07:12:03 pm »



ขอบคุณข้อมูลจาก เครือข่าย คนไทยไร้พุง
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มีนาคม 27, 2018, 07:14:39 pm โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด
ขยับกายในออฟฟิศป้องกันออฟฟิศซินโดรม
« ตอบ #63 เมื่อ: กันยายน 19, 2018, 01:09:27 pm »









ขอบคุณข้อมูลจาก ร.พ.บำรุงราษฎร์
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 19, 2018, 01:11:29 pm โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด
การออกกำลังกายแบบมีแรงต้านอย่างง่าย
« ตอบ #64 เมื่อ: กันยายน 19, 2018, 01:29:19 pm »








« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 19, 2018, 01:31:51 pm โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด
การออกกำลังกายแบบมีแรงต้านอย่างง่าย
« ตอบ #65 เมื่อ: กันยายน 19, 2018, 01:31:27 pm »


























ขอบคุณข้อมูลจาก :  เวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลศิริราช
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 19, 2018, 01:40:49 pm โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด
8 ท่าออกกำลังกาย ห่างไกลอาการปวดกล้ามเนื้อ
« ตอบ #66 เมื่อ: กันยายน 19, 2018, 02:04:15 pm »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด
3 ท่าใช้ยางยืด บริหารกล้ามเนื้อหลัง
« ตอบ #67 เมื่อ: มีนาคม 22, 2019, 02:05:10 pm »
















ปรับก่อนป่วย : สร้างความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อหลังด้วยยางยืด (7 มี.ค. 61)






  ขอบคุณข้อมูลจาก  Thai PBS
https://www.youtube.com/watch?v=akXINvKHSMw




« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มีนาคม 22, 2019, 02:24:10 pm โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด
อยู่กับที่ก็ขยับบนเก้าอี้ได้
« ตอบ #68 เมื่อ: กรกฎาคม 10, 2019, 05:16:11 am »




ขอบคุณข้อมูลจาก :  LINE  SiPH  (ร.พ.ศิริราช ปิยมหาราชการุณย์)
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กรกฎาคม 10, 2019, 05:24:40 am โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด
ท่ายืนสลายพุง : Smart 60 สูงวัยอย่างสง่า [by Mahidol]
« ตอบ #69 เมื่อ: กรกฎาคม 02, 2020, 02:11:54 pm »
  ท่ายืนสลายพุง : Smart 60 สูงวัยอย่างสง่า [by Mahidol]








ขอบคุณข้อมูลจาก Youtube Mahidol Channel มหิดล แชนแนล


  ติดตามทั้งหมดได้ที่ ===> https://www.youtube.com/playlist?list=PLYbHecbpdP2uXF3FiWfJftK6UDRWcB4pk

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มีนาคม 25, 2021, 04:42:19 pm โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด
*รวม* ฮิตท่ายืดเหยียดแก้ปวดไหล่ หลัง เอว ขา
« ตอบ #70 เมื่อ: กรกฎาคม 30, 2020, 06:08:17 pm »
  รวมฮิตท่ายืดเหยียดแก้ปวดไหล่ หลัง เอว ขา : Smart 60 สูงวัยอย่างสง่า [by Mahidol]








ขอบคุณข้อมูลจาก Youtube Mahidol Channel มหิดล แชนแนล


  ติดตามทั้งหมดได้ที่ ===> https://www.youtube.com/playlist?list=PLYbHecbpdP2uXF3FiWfJftK6UDRWcB4pk

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กรกฎาคม 30, 2020, 06:09:56 pm โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด



  หลักการและการออกกำลังกายเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 

การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ เป็นสิ่งที่มีประโยชน์ต่อการเสริมสร้างความแข็งแรงของกระดูกและกล้ามเนื้อ ช่วยในการทรงตัวป้องกัน การหกล้มในผู้สูงอายุ และยังช่วยในการชะลอความเสื่อมของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายได้ด้วย เช่น สมอง หัวใจ ปอด และ ระบบทางเดินอาหาร เป็นต้น

แต่เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด อันตรายจากการออกกำลังกาย เราจำเป็นต้องทำความเข้าใจหลักการเบื้องต้นสำหรับการออกกำลังของผู้สูงอายุ เพื่อ ความปลอดภัยในการออกกำลังกาย ที่เราต้องวางแผนดูแลให้รอบด้าน และประเด็นสำคัญอย่าลืมประเมินสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและสภาพอากาศที่เหมาะสมก่อนออกกำลังกายกันด้วยนะครับ

  หลักการออกกำลังกายในผู้สูงอายุที่ควรรู้ 

1.ผู้สูงอายุควรประเมินสุขภาพ ความพร้อมของร่างกาย และโรคประจำตัวก่อนออกกำลังกายโดยเฉพาะผู้ที่อายุมากกว่า 80 ปีขึ้นไป ว่ามีข้อห้าม ข้อจำกัด หรือ ข้อควรระวังหรือไม่

2.ควรออกกำลังกายตามความชอบ และความถนัดเป็นหลักเพื่อให้เข้ากับวิถีชีวิตและบริบทของครอบครัว

3.เน้นการออกกำลังกายแบบแอโรบิคที่พัฒนาระบบไหลเวียนเลือดและการหายใจ เช่น การเดิน การปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ ลีลาศ รำมวยจีน รำพัด เป็นต้น ให้ได้อย่างน้อยวันละ 30 นาที และ 5 วันต่อสัปดาห์ หรือ สะสมให้ได้ 150 นาทีต่อสัปดาห์

4.สำหรับผู้สูงอายุที่ต้องการออกกำลังกายเริ่มต้น ควรเริ่มจากกิจกรรมเบาไปหนัก จากช้าไปเร็ว ตามที่สามารถทำได้ และต้องไม่ลืม 3 ขั้นตอนสำคัญ คือ อบอุ่นร่างกาย ยืดเหยียดกล้ามเนื้อและคลายกล้ามเนื้อหลังออกกำลังกายทุกครั้ง

5.ผู้สูงอายุที่ต้องการออกกำลังกายเพื่อสร้างความแข็งแรงของกระดูกและกล้ามเนื้อ ต้องออกกำลังกายแบบหลากหลากสลับกันบ้าง เช่น การออกกำลังกายแบบแรงต้าน สลับกับโยคะ เป็นต้น

6.ผู้สูงอายุที่ต้องการความยืดหยุ่นและอ่อนตัวของกล้ามเนื้อ จะต้องมีกิจกรรมยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 10 นาทีต่อวัน และอย่างน้อย 2 ครั้งต่อสัปดาห์

7.ผู้สูงอายุที่ต้องการความแข็งแรงในการทรงตัว ต้องออกกำลังกายเพื่อพัฒนาความสมดุลในการทรงตัวอย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ เช่น ฝึกยืนขาเดียว เดินต่อเท้าโดยไม่มีที่จับยึด

8.การออกกำลังกายเพื่อพัฒนาสมองและความจำในผู้สูงอายุ เน้นการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนสมาชิกผู้สูงอายุด้วยกัน หรือ ครอบครัว เช่น การลีลาศ การรำวง เป็นต้น

เมื่อเรารู้หลักการแล้ว เรามาดูประเภทของการออกกำลังกายกันดีกว่า ซึ่งการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ สามารถทำง่ายๆ ได้ทั้งที่บ้านและนอกบ้านตามความชอบดังนี้

1.การเดิน
เป็นการออกกำลังกายที่ทำง่ายที่สุด และสิ้นเปลืองน้อยที่สุด ทำได้ทุกที่ทุกเวลา โดยการเดินในผู้สูงอายุควรเริ่มจากเกินช้า ๆ เพื่อให้ร่างกายปรับตัว จากนั้น เดินเร็วขึ้น สำหรับผู้ที่ไม่มีปัญหาข้อเท้าหรือข้อเข้าควรปรับเป็นวิ่งช้า ๆ โดยควรเดินให้ได้อย่างน้อยวันละ 30 นาที และ 5 วันต่อสัปดาห์ หรือ สะสมให้ได้ 150 นาทีต่อสัปดาห์

2.การว่ายน้ำ
เหมาะสำหรับผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข้าเสื่อม แต่ต้องการออกกำลังกายเพื่อความแข็งแรงและยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อทุกส่วน และเพิ่มประสิทธิภาพการไหลเวียนเวียนเลือด ช่วยให้การหายใจและหัวใจแข็งแรง ป้องกันการบาดเจ็บของข้อต่อ เช่น เข่า สะโพก และหลัง ซึ่งควรทำสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3- 5 ครั้ง โดยควรว่ายน้ำต่อเนื่องครั้งละ 15- 20 นาที

3.กายบริหาร
เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการเคลื่อนไหว โดยเฉพาะกล้ามเนื้อและข้อต่อ ผู้สูงอายุควรทำอย่างน้อย 15 นาทีต่อวัน เพื่อยืดเหยียดกล้ามเนื้อและฝึกความแข็งแรงของข้อต่อ เช่น กายบริหารด้วยการรำมวยจีน โยคะ

4.การเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกายด้วยกีฬา
เป็นการออกกำลังกายที่ผู้สูงอายุสามารถนำมาประยุกต์ได้ตามความสามารถ ซึ่งมีหลักการคือเน้นการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่อย่างต่อเนื่องโดยใช้เวลา 20-30 นาทีต่อครั้ง โดยออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน แต่ควรทำอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่หักโหม ซึ่งหลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุของข้อเข่า ข้อสะโพก และหลัง ซึ่งกีฬาที่แนะนำได้แก่ การวิ่ง โยคะ การเต้นแอโรบิคที่เน้นการท่าทางและเคลื่อนไหวร่างกายที่แรงกระแทกต่ำ ไม่มีการกระโดด หรือ เตะเท้าสูง เป็นต้น

โดยสรุปแล้วการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ จำเป็นต้องมีเพื่อรักษาสมดุลของร่างกาย รักษาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และเพิ่มยืดหยุ่นของข้อต่อต่างๆ ร่วมกับ การดูแลสุขภาพและการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เพื่อเสริมสร้างภูมิต้านทานโรค ช่วยให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี ลดการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สังคมผู้สูงอายุ สุขภาพผู้สูงอายุ การออกกำลังกาย ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ

ขอขอบคุณความรู้ดีๆจาก
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข,
http://www.anamai.moph.go.th/







ขอบคุณข้อมูลจาก Facebook  สังคมผู้สูงอายุ-Elderlysociety.com
https://www.facebook.com/ElderlysocietyHealth/


« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มีนาคม 25, 2021, 04:57:09 pm โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด
แกว่งแขน ปรับสมดุลน้ำเหลือง
« ตอบ #72 เมื่อ: มีนาคม 25, 2021, 04:46:28 pm »
แกว่งแขน   ปรับสมดุลน้ำเหลือง : กินดี อยู่ดี กับหมอพรเทพ (17 เม.ย.62)







ชวนมาแกว่งแขนและขา เพื่อปรับสมดุลระบบน้ำเหลืองในร่างกาย

เรียนรู้ท่าบริหารและฟังคำแนะนำจาก ดร.นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค์  

ติดตามชมในรายการคนสู้โรค ทุกวันอังคาร – ศุกร์ เวลา  15.05 – 15.30 น. ทางไทยพีบีเอส

หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง http://www.thaipbs.or.th/live










ขอบคุณข้อมูลจาก Youtube ThaiPBS

https://www.youtube.com/watch?v=yoIr73PDmaw


« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มีนาคม 25, 2021, 04:56:00 pm โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด
* โยคะส่งเสริมกายและใจ ลดปัญหาสุขภาพ *
« ตอบ #73 เมื่อ: มีนาคม 25, 2021, 06:09:50 pm »




หลายคนมักมีอาการปวดคอบ่าไหล่ ปวดช่วงหลังและบั้นเอว สาเหตุเนื่องมาจากพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต ได้แก่ การนั่งทำงานในท่าเดิมนานๆ การก้มคอดูโทรศัพท์ การสะพายกระเป๋าหนักๆ ซึ่งการฝึกโยคะสามารถช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยได้


อ่านเพิ่มเติมที่...โยคะส่งเสริมกายและใจ ลดปัญหาสุขภาพ ===> http://ssss.network/om4tm


สามารถติดตามข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้ที่ ===> www.thaihealth.or.th/ไทยรู้สู้โควิด









ขอบคุณข้อมูลจาก Facebook สสส. (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ) : ThaiHealth
https://www.facebook.com/thaihealth


« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มีนาคม 25, 2021, 06:18:53 pm โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 13544
    • ดูรายละเอียด
" วิ่งอย่างไร...ไม่ให้ข้อเจ็บ "
« ตอบ #74 เมื่อ: ตุลาคม 14, 2021, 07:09:39 am »






  วิ่งอย่างไร...ไม่ให้ข้อเจ็บ 


12 ตุลาคม วันโรคข้อสากล World Arthritis Day เป็นวันสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคข้อซึ่งไม่ใช่แค่ผู้สูงอายุเท่านั้นที่จะเกิดโรคนี้ แต่สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัยทั่วโลก ซึ่งโรคและการเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้อง เช่น โรคเกาต์ โรคข้อเสื่อม โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ และโรคลูปัส ซึ่งเป็นโรคที่พบได้บ่อย มีภาวะเจ็บปวด หากไม่ดูแลรักษาอาจนำไปสู่ความพิการ

ปัจจุบันการออกกำลังกายประเภทวิ่ง ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการวิ่งบนลู่ หรือการวิ่งที่สนามจริง ซึ่งการวิ่งที่ถูกวิธีนอกจากช่วยส่งผลให้สุขภาพแข็งแรงแล้ว ยังสามารถช่วยป้องกันการบาดเจ็บที่ข้อเข่าและข้อต่อต่างๆ ไม่ให้เสื่อมเร็วได้อีกด้วย

ในวันข้อสากลปีนี้ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลจึงมีวิธีการวิ่งอย่างไรไม่ให้ข้อเจ็บ เพื่อที่จะรักษาข้อของเราให้อยู่ด้วยกันไปนานๆ มาฝากครับ

อ้างอิง : ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด และ งานสร้างเสริมสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

วันที่ 12 ตุลาคม วันโรคข้อสาก






--------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณข้อมูลจาก Facebook  sirirajpr
https://www.facebook.com/siriraj
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ตุลาคม 14, 2021, 07:19:48 am โดย ยาใจ »