ผู้เขียน หัวข้อ: ความรู้เกี่ยวกับโรคไต  (อ่าน 28144 ครั้ง)

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 14170
    • ดูรายละเอียด
การใช้ยาในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
« ตอบ #15 เมื่อ: กรกฎาคม 21, 2015, 07:18:18 am »















ที่มา : แผ่นพับ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 14170
    • ดูรายละเอียด
ลดอาหารเค็ม เพื่อรักษาโรคไต
« ตอบ #16 เมื่อ: กรกฎาคม 21, 2015, 07:28:50 am »

















ที่มา : แผ่นพับ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กรกฎาคม 21, 2015, 07:41:31 am โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 14170
    • ดูรายละเอียด



ขอบคุณข้อมูล จาก : Facebook โรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์


« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มกราคม 11, 2019, 06:45:09 pm โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 14170
    • ดูรายละเอียด
ความรู้เกี่ยวกับโรคไต
« ตอบ #18 เมื่อ: กรกฎาคม 29, 2017, 06:02:41 am »







   คลิกอ่านได้ที่ ===>  http://www.kidneythai.org/articlesknowledge.php




ที่มา : เว็บไซต์ มูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย
http://www.kidneythai.org/home.php
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กรกฎาคม 29, 2017, 06:05:34 am โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 14170
    • ดูรายละเอียด
กินเค็มสะเทือนไต
« ตอบ #19 เมื่อ: เมษายน 22, 2020, 01:34:54 pm »




  ขอบคุณข้อมูลจาก LINE Ramathibodi 
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: เมษายน 22, 2020, 04:27:58 pm โดย ยาใจ »

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 14170
    • ดูรายละเอียด




  โซเดียม ภัยเงียบจากของอร่อย แนะนำวิธีลดเค็มง่าย ๆ ห่างไกลโรคไต 

กรมการแพทย์โดยสถาบันโรคทรวงอก เตือนการบริโภคโซเดียมในปริมาณมากเกินกว่า 2,400 มิลลิกรัม หรือมากกว่า 1 ช้อนชาต่อวันจะทำให้ไตทำงานหนัก เสี่ยงต่อการเกิดความดันโลหิตสูงและยิ่งมีโอกาสพบบ่อยเมื่ออายุมากขึ้น พร้อมแนะวิธีลดปริมาณโซเดียมเพื่อการทำงานที่ดีของไต

นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า โซเดียมเป็นส่วนประกอบของเกลือ ซึ่งเกลือ 1 กรัม จะมีโซเดียมประมาณ 400 มิลลิกรัม โดยร่างกายมีความต้องการโซเดียมประมาณ 2,400 มิลลิกรัมต่อวัน แต่ถ้าได้รับมากร่างกายจะขับออกทางไตจะทำให้ไตทำงานหนัก ดังนั้นการที่ร่างกายได้รับโซเดียมในปริมาณที่พอเพียงไม่มากไม่น้อยจนเกินไปจะเกิดผลดีต่อการทำงานของไต ส่วนเกลือโซเดียม หรือเกลือแกงเป็นตัวหลักของสารที่ให้ความเค็มในเครื่องปรุงรสที่นิยมใช้ คือ น้ำปลา ซอสถั่วเหลือง ซีอิ๊วขาว ซีอิ๊วดำ เต้าเจี้ยว ฯลฯ และยังใช้ในการ ถนอมอาหารประเภทหมักดอง เช่น ผักดอง ผลไม้ดอง ไข่เค็ม ปลาร้า ปลาเค็ม เนื้อเค็ม เป็นต้น นอกจากนี้ เกลือโซเดียมยังแฝงมากับอาหารอื่นๆ เช่น ขนมอบกรอบ ผงชูรส หากรับประทานอาหารที่เค็มจัดที่มีเกลือโซเดียม หรือเกลือแกงมากกว่า 6 กรัมต่อวัน หรือมากกว่า 1 ช้อนชาขึ้นไป จะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะคนที่ไม่ชอบบริโภค ผัก ผลไม้

นายแพทย์เอนก กนกศิลป์ ผู้อำนวยการสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ กล่าวเพิ่มเติมว่า ในแต่ละวันไม่ควรบริโภคโซเดียมเกินความต้องการของร่างกาย ซึ่งวิธีที่จะช่วยลดปริมาณการบริโภคโซเดียมมีหลายวิธี เช่น หลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารรสจัด และอาหารหมักดอง ชิมอาหารทุกครั้งก่อนเติมเครื่องปรุง เลือกบริโภคอาหารสด หรืออาหารที่ผ่านการแปรรูปน้อยที่สุด หลีกเลี่ยงอาหารสำเร็จรูป และขนมขบเคี้ยวที่มีเครื่องปรุงรสปริมาณมาก ลดความถี่ของการบริโภคอาหารที่ต้องมีเครื่องปรุงน้ำจิ้ม และลดปริมาณน้ำจิ้มที่บริโภค ทดลองปรุงอาหารโดยใช้ปริมาณเกลือ น้ำปลา ตลอดจนเครื่องปรุงรสอื่นๆ เพียงครึ่งหนึ่งที่กำหนดไว้ในสูตรปรุงอาหาร ถ้ารสชาติไม่อร่อยจริงๆ จึงค่อยเพิ่มปริมาณของเครื่องปรุงรส ควรปลูกฝังนิสัยให้บุตรหลานรับประทานอาหารรสจืด โดยไม่เติมเกลือ ซีอิ๊วขาว น้ำปลา ตลอดจนซอสปรุงรสในอาหารเด็กและทารก และควรบริโภคอาหารที่มีปริมาณโปแตสเซียมสูง เช่น ผักใบเขียวและผลไม้ จะสามารถช่วยลดความดันโลหิตได้
*********************************************
กรมการแพทย์ สถาบันโรคทรวงอก โซเดียม
-ขอขอบคุณ-
3 กรกฎาคม 2563








ขอบคุณข้อมูลจาก Facebook กรมการแพทย์
https://www.facebook.com/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%8C-643148052494633/

ยาใจ

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 14170
    • ดูรายละเอียด
โจ๊กบำรุงไต : กินดี อยู่ดีกับหมอพรเทพ
« ตอบ #21 เมื่อ: กรกฎาคม 24, 2020, 10:16:51 am »
โจ๊กบำรุงไต : กินดี อยู่ดีกับหมอพรเทพ







ขอบคุณข้อมูลจาก Youtube ThaiPBS
https://www.youtube.com/watch?v=ya46AoZNxa8
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กรกฎาคม 24, 2020, 11:16:27 am โดย ยาใจ »